web analytics

ITECH KM 2562 GOV – 1

เทคนิควิธีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ

∴ มอบของที่ระลึกในเทศกาลต่าง ๆ

∴ สรุปเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ประกอบการผ่านศิษย์เก่า

∴ อาสาพัฒนาสถานประกอบการฟรี

∴ การเชื่อมโยงจากสถานประกอบการกับสถานประกอบการ

∴ การสร้างเครือข่ายผ่านการบริการวิชาการผ่านการเรียนการสอน (วิทยากร+ ดูงาน)

∴ การพานักศึกษาไปฝึกงานและแลกเปลี่ยนกับสถานประกอบการ

 

 2.1 นักศึกษา

» พานักศึกษาไปอาสาพัฒนาสถานประกอบการ

» เชิญวิทยากรมาอบรม และหาหลักสูตรออนไลน์ให้ศึกษาเพิ่ม (Upskill)

» จัดบูธแคมป์สำหรับทบทวนให้นักศึกษาโดยเชิญบริษัทในเครือข่ายมาเป็นวิทยากรถ่ายทอด

» เตรียมความพร้อมทักษะความรู้ทั่วไป เช่นทักษะทางสังคม ทักษะทางภาษา ทักษะวิชาชีพตามศาสตร์นั้น ๆ

   2.2 อาจารย์

» ประชุมร่วมกับสถานประกอบการหาจุดร่วมและความต้องการ

» อาจารย์อบรม  ศึกษาเพิ่มเติม (Upskill/ Reskill)

» สอบถามความต้องการของสถานประกอบการว่าต้องการนักศึกษามีความรู้ด้านใดและกลับมาทบทวนว่านักศึกษา
   มีทักษะตามความต้องการของสถานประกอบการหรือไม่ถ้ามีต้องให้ความรู้และทักษะในด้านนั้น (Upskill)

♦ จัดทำแผนระยะการตรวจ

♦ ทำ Check Test ของคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ที่สาขาต้องการ

♦ ตรวจตาม Check List

♦ สอบถามสถานประกอบการเกี่ยวข้องกับความสามารถของนักศึกษา เพื่อนำกลับมาทวนสอบรายวิชา
รวบรวมข้อเสนอแนะจากพี่เลี้ยงที่ดูแลนักศึกษานำเข้าที่ประชุมสาขาวิชาหารือแนวทางการปรับปรุง
เพื่อป้องกันในครั้งต่อไป

♦ การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการนิเทศเพื่อแจ้งปัญหา

♦ การประชุมเพื่อหาข้อสรุป

♦ สอบถามนักศึกษาเกี่ยวกับปัญหาที่พบระหว่างการฝึกงานผ่านทางโทรศัพท์

♦ มีการเข้าพบนักศึกษากับสถานประกอบการเพื่อสอบถามพูดคุยปัญหาหรือสิ่งที่สถานประกอบการอยากได้

♦ ก่อนออกไปนิเทศนักศึกษา  อาจารย์ศึกษาตรวจสอบข้อมูลแวดล้อม ผลตอบรับจากการสื่อสารแบบไม่เป็นทางการ
กับสถานประกอบการเมื่อได้เข้าไปนิเทศอาจารย์นิเทศเข้าร่วมพูดคุยแยกกันระหว่างหัวหน้างานและนักศึกษา
และแจ้งให้แก่นักศึกษาถึงข้อบกพร่อง เพื่อให้นักศึกษา

 


 

ขอขอบคุณแนวปฏิบัติที่ดีจาก :
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธิติมา        คุณยศยิ่ง
รองศาสตราจารย์อนิรุจน์        มะโนธรรม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พงษ์ศักดิ์    อยู่มั่น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปิญชาน์      ต่อกิติกุล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์มัตติกา      บุญมา
อาจารย์อดิศร                        ถมยา
อาจารย์ณิชา  นภาพร           จงกะสิกิจ
อาจารย์ศักดิ์ชัย                 ศรีมากรณ์

2 comments

  1. ผศ.ธิติมา คุณยศยิ่ง

    1. มีนักศึกษาจำนวน 3 คน และใช้การเรียนแบบสอนแบบ WIL 100%
    2. ในช่วงการศึกษาภาคฤดูร้อน นักศึกษาได้ทำโครงร่างวิชา Project
    3. จำนวนรายวิชาที่มีการเรียนการสอนแบบ WIL ร้อยละ 32 ตลอดหลักสูตรวิชาเฉพาะ

    ข้อเสนอแนะ
    มีการต่อยอดจากประสบการณ์การทำงานและเก็บหน่วยกิต รายวิชา

  2. ผศ.ธมลวัฒน์ หิรัญชาติอนันต์

    ในรายวิชานวัตกรรมเซรามิกส์ ได้พานักศึกษาเข้าดูงาน ณ สถานประกอบการเพื่อเรียนรู้แนวทางการพัฒนารูปแบบผลิตใหม่ ของโรงงานที่ได้รับรางวัลทางด้านนวัตกรรมดีเด่นระดับประเทศ ซึ่งในการนี้ได้พบกับเจ้าของสถานประกอบการ และได้รับเกียรติจากเจ้าของสถานประกอบการเป็นวิทยากรบรรยายถึงการสร้างนวัตกรรมเซรามิกส์ร่วมสมัยด้วย

    ข้อเสนอแนะ
    การเตรียมความพร้อมนักศึกษา WIL และนักศึกษามีความแตกต่างกัน เพราะนักศึกษาเป็น 1 ในรูปแบบของ WIL ดังนั้นรูปแบบการเรียนการสอนของหลักสูตรควรให้ความสำคัญและมีความชัดเจนในการทำแผนการเรียน

X